วิธีตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่าย ๆ จะมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินก็เช็คได้

ราคาประเมินที่ดิน ใช้สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามทีี่กฎหมายกำหนด เป็นราคาที่ดินที่ได้รับการประเมินโดยกรมธนารักษ์ เราจะใช้ราคาประเมินที่ดินนี้เมื่อเราต้องการซื้อ-ขาย-โอนที่ดินก็จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอน หรือ เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามราคาประเมินนั่นเอง วิธีการตรวจสอบราคาประเมินง่าย ๆ ไม่ว่าคุณจะมีข้อมูลโฉนดอยู่ในมือ หรือ ไม่มีข้อมูลโฉนดเลยก็ตาม

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่ายๆ เพียงเตรียมโฉนดที่ดินให้พร้อมแล้วมาค้นหาราคาประเมินที่ดินกันใน 3 ขั้นตอน

  1. เข้าเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์
  2. ค้นหาราคาประเมิน โดยมีทางเลือกการค้นหา 2 แบบคือ
    1. ค้นจากเลขที่โฉนด เพียงกรอกเลขที่โฉนด หน้าสำรวจ และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
    2. ค้นหาจากเลขที่ดิน เพียงกรอกเลขที่ดิน ระวาง และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
  3. ดูราคาประเมินที่ดินได้ที่ด้านขวามือ
    ค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

นายหน้าอสังหา หรือเจ้าของที่ดินบางครั้งก็อยากจะตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แต่ไม่ได้พกโฉนดติดตัวไว้ หรือยังไม่มีข้อมูลโฉนดทำให้ค้นหาราคาประเมินที่ดินได้ลำบาก แต่ไม่ต้องห่วง เราจะแนะนำวิธีการตรวจสอบราคาประเมินที่ดินโดยที่ไม่ต้องใช้โฉนด เพียงรู้ตำแหน่งแปลงที่ดิน และมีมือถือพร้อมอินเตอร์เนทก็ตรวจสอบได้แล้ว เพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น

  1. เข้าเว็บไซต์ “ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน”ของกรมที่ดิน หรือ แอพลิเคชั่น Landmaps
  2. ค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณง่าย ๆ
    คุณสามารถซูมแผนที่เข้าไปค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณ หรือค้นหาจากจังหวัด เขต แขวง หรือแม้กระทั่งค้นหาสถานที่สำคัญ เหมือนการใช้ google maps จะช่วยให้คุณมองเห็นที่ตั้งที่ดินคุณได้ง่ายขึ้น เช่น ที่ดินของคุณตั้งอยู่ใกล้ ศูนย์ราชการนนทบุรี คุณก็ค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดนี้แล้วซูมไปบนแผนที่เพื่อหาที่ตั้งที่ดินของคุณค้นหาราคาประเมินที่ดิน
  3. Double-click คลิกบนที่ตั้งที่ดินของคุณ 2 ครั้ง ระบบจะแสดงขอบเขตที่ดินขึ้นมา ให้คุณคลิกบนกรอบขอบเขตที่ดินของคุณ และสามารถดูรายละเอียดข้อมูลโฉนด ขนาดที่ดิน รวมทั้งราคาประเมินได้ทันทีค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ถ้าหากแปลงที่ดินที่คุณสนใจไม่แสดงราคาประเมินที่ดินบนเว็บไซต์ทันที คุณก็สามารถนำข้อมูลโฉนดที่ดิน ได้แก่ หมายเลขระวาง เลขที่ดิน เลขที่โฉนดที่ดิน และหน้าสำรวจ ไปค้นหาราคาประเมินที่ในเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ตามขั้นตอนการค้นหาราคาประเมิน แบบมีโฉนดที่ดิน ด้านบนได้

     เพียงแค่นี้คุณก็สามารถตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ทั้งแบบมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินในมือ รวมทั้งช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน เช็คตำแหน่งที่ตั้งและรูปแปลงที่ดินให้ตรงกับข้อมูลของคุณได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หากคุณรู้ราคาประเมินที่ดินของคุณแล้ว สามารถคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างได้ง่าย ๆ ด้วยเครื่องมือคำนวณบนเว็บไซต์ Feasy เพียง “เพิ่มที่ดิน” แล้วอ่านรายงานศักยภาพที่ดิน ซึ่งประกอบไปด้วยเครื่องมือคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงราคาตลาดที่ดินในทำเลใกล้เคียง (ราคาที่สะท้อนถึงมูลค่าที่ดินในแต่ละพื้นที่) สีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้าง และเครื่องมือคำนวณค่าเช่าที่ดิน

สมัครสมาชิกฟรี! เช็คศักยภาพอสังหาฯ ของคุณได้ทันที
ราคาประเมิน
ความรู้อสังหาฯ
กฎหมายอสังหาฯ
อสังหา 101
ที่ดิน
ราคาที่ดิน

เว็บไซต์อ้างอิง : https://www.feasyonline.com/content/detail/1187

ตรวจสอบราคาที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ราคาที่ดิน ราคาประเมินที่ดิน ใช้สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามทีี่กฎหมายกำหนด เป็นราคาที่ดินที่ได้รับการประเมินโดยกรมธนารักษ์ เราจะใช้ราคาประเมินที่ดินนี้เมื่อเราต้องการซื้อ-ขาย-โอนที่ดินก็จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอน หรือ เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามราคาประเมินนั่นเอง วิธีการตรวจสอบราคาประเมินง่าย ๆ ไม่ว่าคุณจะมีข้อมูลโฉนดอยู่ในมือ หรือ ไม่มีข้อมูลโฉนดเลยก็ตาม

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่ายๆ เพียงเตรียมโฉนดที่ดินให้พร้อมแล้วมาค้นหาราคาประเมินที่ดินกันใน 3 ขั้นตอน

  1. เข้าเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์
  2. ค้นหาราคาประเมิน โดยมีทางเลือกการค้นหา 2 แบบคือ
    1. ค้นจากเลขที่โฉนด เพียงกรอกเลขที่โฉนด หน้าสำรวจ และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
    2. ค้นหาจากเลขที่ดิน เพียงกรอกเลขที่ดิน ระวาง และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
  3. ดูราคาประเมินที่ดินได้ที่ด้านขวามือ
    ค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

นายหน้าอสังหา หรือเจ้าของที่ดินบางครั้งก็อยากจะตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แต่ไม่ได้พกโฉนดติดตัวไว้ หรือยังไม่มีข้อมูลโฉนดทำให้ค้นหาราคาประเมินที่ดินได้ลำบาก แต่ไม่ต้องห่วง เราจะแนะนำวิธีการตรวจสอบราคาประเมินที่ดินโดยที่ไม่ต้องใช้โฉนด เพียงรู้ตำแหน่งแปลงที่ดิน และมีมือถือพร้อมอินเตอร์เนทก็ตรวจสอบได้แล้ว เพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น

  1. เข้าเว็บไซต์ “ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน”ของกรมที่ดิน หรือ แอพลิเคชั่น Landmaps
  2. ค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณง่าย ๆ
    คุณสามารถซูมแผนที่เข้าไปค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณ หรือค้นหาจากจังหวัด เขต แขวง หรือแม้กระทั่งค้นหาสถานที่สำคัญ เหมือนการใช้ google maps จะช่วยให้คุณมองเห็นที่ตั้งที่ดินคุณได้ง่ายขึ้น เช่น ที่ดินของคุณตั้งอยู่ใกล้ ศูนย์ราชการนนทบุรี คุณก็ค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดนี้แล้วซูมไปบนแผนที่เพื่อหาที่ตั้งที่ดินของคุณค้นหาราคาประเมินที่ดิน
  3. Double-click คลิกบนที่ตั้งที่ดินของคุณ 2 ครั้ง ระบบจะแสดงขอบเขตที่ดินขึ้นมา ให้คุณคลิกบนกรอบขอบเขตที่ดินของคุณ และสามารถดูรายละเอียดข้อมูลโฉนด ขนาดที่ดิน รวมทั้งราคาประเมินได้ทันทีค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ถ้าหากแปลงที่ดินที่คุณสนใจไม่แสดงราคาประเมินที่ดินบนเว็บไซต์ทันที คุณก็สามารถนำข้อมูลโฉนดที่ดิน ได้แก่ หมายเลขระวาง เลขที่ดิน เลขที่โฉนดที่ดิน และหน้าสำรวจ ไปค้นหาราคาประเมินที่ในเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ตามขั้นตอนการค้นหาราคาประเมิน แบบมีโฉนดที่ดิน ด้านบนได้

     เพียงแค่นี้คุณก็สามารถตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ราคาที่ดิน ทั้งแบบมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินในมือ รวมทั้งช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน เช็คตำแหน่งที่ตั้งและรูปแปลงที่ดินให้ตรงกับข้อมูลของคุณได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หากคุณรู้ราคาประเมินที่ดินของคุณแล้ว สามารถคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างได้ง่าย ๆ ด้วยเครื่องมือคำนวณบนเว็บไซต์ Feasy เพียง “เพิ่มที่ดิน” แล้วอ่านรายงานศักยภาพที่ดิน ซึ่งประกอบไปด้วยเครื่องมือคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงราคาตลาดที่ดินในทำเลใกล้เคียง (ราคาที่สะท้อนถึงมูลค่าที่ดินในแต่ละพื้นที่) สีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้าง และเครื่องมือคำนวณค่าเช่าที่ดิน

สมัครสมาชิกฟรี! เช็คศักยภาพอสังหาฯ ราคาที่ดิน ของคุณได้ทันที

ราคาที่ดิน
ความรู้อสังหาฯ
กฎหมายอสังหาฯ
อสังหา 101
ที่ดิน

เว็บไซต์อ้างอิง : https://www.feasyonline.com/content/detail/1187/

ข้อควรรู้ก่อนซื้อที่ดิน วิธีเช็คแนวเวนคืนที่ดินจะได้ไม่โดนหลอก

วิธีเช็คแนวเวนคืนก่อนซื้อที่ดิน ราคาที่ดินก็แพงขึ้นเรื่อย ๆ จะซื้อทั้งทีต้องลงทุนเยอะ แต่สภาพคล่องต่ำ ก่อนจะซื้อที่ดินสักแปลงเราจึงต้องตรวจสอบศักยภาพของที่ดินก่อนว่าคุ้มค่ากับราคาหรือไม่ เพราะบางครั้งที่ดินที่เรามองว่าสวย ทำเลดี อาจไม่ได้มีมูลค่ามากอย่างที่ตั้งราคาขายไว้ หรือ ที่ดินบางที่อาจจะดูไม่ดีนักแต่เราสามารถนำไปพัฒนาให้มีมูลค่าสูงได้ เพราะเป็นที่ดินที่มีศักยภาพสูงนั่นเอง วันนี้ Feasy โปรแกรมวางแผนการลงทุนอสังหาฯ ออนไลน์ จะมาสรุปสิ่งที่เราต้องเช็คก่อนซื้อที่ดิน จะได้ไม่พลาดนั่นเอง

  1. ตำแหน่งที่ดิน

อย่างแรกที่เราต้องตรวจสอบคือ แนวเวนคืน ตำแหน่งและรูปร่างของที่ดิน วิธีการตรวจสอบ ได้แก่ การดูขอบเขตที่ดินผ่านเว็บไซต์ของกรมที่ดิน ดูลักษณะที่ดินผ่าน Google maps หรือการลงพื้นที่ไปสำรวจที่ดินด้วยตัวเอง ไม่ว่าอย่างไรก็ตามคุณต้องรู้ตำแหน่งที่ถูกต้อง และ รูปร่างที่ดิน ซึ่งมีผลต่อศักยภาพการพัฒนาอาคาร เพราะรูปร่างที่ดินที่มีมุมมาก หรือ แคบจนเกินไป ก็จะพัฒนาอาคารได้ยาก

  1. ทางเข้าออก ติดถนนสาธารณะ หรือ ถนนส่วนบุคคล

ขั้นตอนต่อไปเราต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าที่ดินของเรามีทางเข้าออกถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ ซึ่งวิธีนี้อาจดูด้วยตาเปล่าอย่างเดียวไม่ได้ ต้องตรวจสอบเขตทางผ่านเว็บไซต์ของราชการ เพราะ ที่ดินบางทำเลอาจดูเหมือนมีทางเข้าออกทีรถและคนสามารถใช้ได้แต่ตามกฎหมายถนนนั้นเป็นที่ดินของบุคคลอื่น ทำให้เราไม่มีสิทธิใช้ได้ เป็นต้น หากที่ดินของเราติดถนน เราต้องตรวจสอบด้วยว่าเป็นถนนสาธารณะ หรือ ถนนส่วนบุคคล เพราะมีผลต่อศักยภาพการพัฒนาอาคารเช่นกัน

  1. สีผังเมือง บอกศักยภาพการพัฒนาอาคาร และประเภทอาคารที่สร้างได้

สีผังเมืองในแต่ละพื้นที่จะแต่งต่างกัน เพื่อควบคุมการขยายตัวของเมือง แต่ละพื้นที่จึงมีศักยภาพในการพัฒนาอาคารต่างกันนั่นเอง ที่ดินใจกลางเมือง หรือที่ดินตามแนวรถไฟฟ้ามักจะมีศักยภาพตามสีผังเมืองที่สูงกว่าที่ดินเขตนอกเมือง หมายความว่าจะสามารถพัฒนาอาคารได้ขนาดใหญ่กว่าแม้มีที่ดินขนาดเท่ากัน และสามารถพัฒนาอาคารประเภทพาณิชยกรรมได้โดยมีเงื่อนไขน้อยกว่า เช่น หากเราม่ีที่ดินขนาด 2 ไร่

กรณีที่ 1

ที่ดินตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดง พ.3 ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม มี FAR 7 และ OSR 4.5% จะพัฒนาอาคารได้สูงสุด 22,400 ตร.ม. (ตามข้อกำหนด FAR) โดยต้องมีพื้นที่ว่างรอบอาคารเพียง 144 ตร.ม. จากพื้นที่ดิน 1,600 ตร.ม. และสามารถพัฒนาอาคารได้หลากหลายประเภท

กรณีที่ 2

ที่ดินตั้งอยู่ห่างออกไปเพียง  10 เมตร แต่ไปตกอยู่ในพื้นที่สีเหลือง ย.3 ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย FAR 2.5  และ OSR 12.5% จะสามารถพัฒนาอาคารได้สูงสุด 4,000 ตร.ม. (ตามข้อกำหนด FAR) โดยต้องมีพื้นที่ว่างรอบอาคาร 400 ตร.ม. เท่ากับว่าพัฒนาอาคารได้ขนาดเล็กลง อีกทั้งยังไม่สามารถมารถพัฒนาอาคารบางประเภท หรือ ต้องพัฒนาภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ เช่น สร้างอาคารพานิชยกรรมขนาดตั้งแต่ 1,000 ตร.ม. ขึ้นไปไม่ได้ เป็นต้น

จาก 2 กรณีข้างต้นจะเห็นว่า ศักยภาพการพัฒนาของที่ดินจะต่างกันอย่างมากหากอยู่บนพื้นที่สีผังเมืองคนละสีกัน แม้ที่ตั้งจะห่างกันเพียงเล็กน้อยก็ตาม หากคุณต้องการตรวจสอบสีผังเมืองง่าย ๆ Feasy ได้รวบรวมสีผังเมือง 21 จังหวัดพร้อมระบุข้อมูล FAR, OSR มาไว้บนแผนที่
สมัครสมาชิก ตรวจสอบสีผังเมืองฟรี ที่นี่

ดูเพิ่มเติม
อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio: FAR) คืออะไร? อัตราส่วนของพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม (Open Space Ratio: OSR) คืออะไร?

  1. การเวนคืนที่ผ่านและในอนาคต

ก่อนซื้อที่ดินควรตรวจสอบว่าจะมีการเวนคืนที่ส่งผลกระทบกับที่ดินของเราหรือไม่ Feasy ได้รวบรวมข้อมูลแนวเวนคืนใน 21 จังหวัด และลิงค์เอกสารราชการมาไว้บนแผนที่เพื่อให้คุณสามารถเข้าถึงได้ง่าย ๆ
สมััครสมาชิก ตรวจสอบแนวเวนคืนฟรี ที่นี่

  1. พื้นที่ห้ามก่อสร้าง

คล้ายกับการตรวจสอบแนวเวนคืน ในแต่ละพื้นที่อาจมีประกาศกระทรวงมหาดไทย ที่จะกำหนดว่าห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท เช่น พื้นที่รอบท่าอากาศยานจะมีข้อกำหนดว่าในระยะใกล้ๆ เช่น ระยะ 300 เมตรจากแนวเขตที่ดินของสนามบินไม่สามารถสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 12 เมตร ห้องแถวหรือตึกแถว เป็นต้น ในขณะที่ระยะที่ไกลออกไปก็จะปรับข้อกำหนดต่าง ๆ กันไป ก่อนการซื้อที่ดินจึงควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าจะสามารถพัฒนาอาคารได้ตามที่เราวางแผนไว้ Feasy ได้รวบรวมพื้นที่ห้ามก่อสร้าง 21 จังหวัดไว้เพื่อให้คุณตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายขึ้น

สมััครสมาชิก ตรวจสอบพื้นที่ห้ามก่อสร้างฟรี ที่นี่

     เมื่อเราเห็นศักยภาพของที่ดิน และต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อตัดสินใจ ซื้อ-ขายที่ดิน ต้องตรวจสอบ จากการคัดโฉนด ที่สำนักงานที่ดิน ซึ่งคุณจะทราบข้อมูลเพิ่มเติม ได้แก่

  1. ผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์

ด้านหลังโฉนดที่ดินจะมีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินอยู่

  1. การจดจำนอง (ถ้ามี)

ด้านหลังโฉนดที่ดินจะแสดงข้อมูลนิติกรรมที่เกี่ยวข้องกับที่ดินนั้น หากติดจำนองกับธนาคารอยู่ก็จะสามารถตรวจสอบได้

  1. การรอนสิทธิ

ได้แก่ ภาระจำยอม สัญญาเช่า ที่ดินใต้แนวสายไฟฟ้าแรงสูง เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลอย่างมากต่อมูลค่า ราคาทีดิน เพราะทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มที่นั่นเอง
อ่านเพิ่มเติม การรอนสิทธิ คืออะไร? เจ้าของที่ดิน ผู้จะซื้อ-เช่าที่ดินต้องรู้
 

  1. หากที่ดินของคุณอยู่ในพื้นที่หมิ่นเหม่
    เช่น อาจครอบคลุมสีผังเมือง 2 สี หรืออยู่ใกล้กับแนวเวนคืนมาก ทำให้คุณไม่มั่นใจว่าที่ดินอยู่ในแนวเขตสีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้างใด ก็ควรส่งเอกสารตรวจสอบกับกรมที่ดินเพื่อความมั่นใจ

     ก่อนซื้อ-เช่าที่ดินมีหลายข้อที่ต้องตรวจสอบให้มั่นใจ จะได้ไม่โดนหลอก ทำให้เราสามารถพัฒนาพื้นที่ได้เต็มศักยภาพของที่ดิน Feasy โปรแกรมวิเคราะห์การลงทุนอสังหาฯ มีเป้าหมายที่จะช่วยนักลงทุนอสังหาฯ ลดความเสี่ยงและโอกาสในการลงทุน เราจึงพัฒนาฟีเจอร์ต่าง ๆ เพื่อตอบโจทย์นายหน้า เจ้าของที่ดิน นักลงทุนทั้งรายเล็กและรายใหญ่ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ครบ จบในที่เดียว

สมัครใช้งานฟรี! ตรวจสอบสีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้างทันที
 

#แนวเวนคืน
#กฎหมายอสังหาฯ
#ที่ดิน
#ผังเมือง
#ราคาที่ดิน
#พื้นที่ห้ามก่อสร้าง

เว็บไซต์อ้างอิง : https://www.feasyonline.com/content/detail/1190

FAR Bonus คืออะไร เงื่อนไข 8 ข้อ เพิ่มพื้นที่อาคาร ตามกฎหมายผังเมืองใหม่

 FAR Bonusคือ มาตรการส่งเสริมการพัฒนาด้วยการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) ทำให้นักพัฒนาอสังหาฯ สามารถสร้างอาคารให้มีพื้นที่มากขึ้น เพิ่มมูลค่าของโครงการได้นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพื่อสนับสนุนรูปแบบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เอื้อประโยชน์ต่อส่วนรวม ด้วยการสนับสนุนนักพัฒนาอสังหาฯ โดยมีเงื่อนไขต่าง ๆ เพราะหากนักพัฒนาอสังหาฯ ต้องลงทุนค่าก่อสร้างเพิ่มเพื่อพัฒนาพื้นที่รองรับน้ำ หรือ พื้นที่สีเขียวก็จะต้องแบกรับต้นทุนและความเสี่ยงในการลงทุนอยู่ฝ่ายเดียว มาตรการนี้จึงเอื้อให้เกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายนั่นเอง ทั้งนี้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับปัจจุบัน และร่างผังเมืองใหม่ ได้มีการกำหนดเงื่อนไขการพัฒนาที่จะช่วยให้สามารถเพิ่ม FAR Bonus ได้ ดังนี้

FAR Bonus ตามผังเมืองปัจจุบัน

กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเงื่อนไขสำหรับการเพิ่ม FAR Bonus ดังนี้

  1. พัฒนาที่อยู่อาศัยราคาต่ำกว่าท้องตลาด (Affordable Housing)
    การจัดให้มีหรือพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อยหรือผู้อยู่อาศัยเดิมภายในพื้นที่โครงการ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินสี่เท่าของพื้นที่ที่จัดให้เป็นที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อย ที่อยู่อาศัยที่มีราคาต่ำกว่าท้องตลาด หรือที่อยู่อาศัยสําหรับผู้อยู่อาศัยเดิมภายในพื้นที่โครงการ
  1. พื้นที่เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ
    การจัดให้มีพื้นที่เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินห้าเท่าของพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะที่จัดให้มีขึ้น
  1. ที่จอดรถยนต์สำหรับประชาชนทั่วไปรอบสถานีรถไฟฟ้า
    การจัดให้มีที่จอดรถยนต์สําหรับประชาชนทั่วไปในบริเวณพื้นที่ภายในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีอ่อนนุช สถานีลาดกระบัง สถานีหัวหมาก สถานีบางบําหรุ สถานีตลิ่งชัน สถานีอุดมสุข และสถานีแบริ่ง โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกิน 30 ตารางเมตรต?อที่จอดรถยนต?ที่เพิ่มขึ้น 1 คัน

    แต่ในร่างผังเมืองใหม่ มีมาตรการลดหย่อนจำนวนที่จอดรถยนต์ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคาร ทำให้สามารลดจำนวนที่จอดรถขั้นต่ำลงได้ 25% สำหรับอาคารที่ตั้งอยู่ในะยะ 500 เมตร โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือ 800 เมตรโดยรอบสถานีร่วมตามที่กำหนด

    สถานีร่วม* คือ สถานีเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (Interchange station) ได้แก่ สถานีสยาม หรือ อโศก ที่เชื่อมการเดินทางระหว่าง 2 เส้นรถไฟฟ้าก็จะได้รับการลดหย่อนมากกว่านั่นเอง ดังภาพ
  1. พื้นที่รับน้ำหรือที่กักเก็บน้ำ
    การจัดให้มีพื้นที่รับน้ำในแปลงที่ดินในสัดส่วนไม่น้อยกว่า 1 ลูกบาศก์เมตร ต่อพื้นที่ดิน 50 ตารางเมตร ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินได้ไม่เกินร้อยละห้า ถ้าสามารถกักเก็บน้ําได้มากกว่า 1 ลูกบาศก์เมตร ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ตามสัดส่วน แต่ต้องไม่เกินร้อยละยี่สิบ
  1. อาคารประหยัดพลังงาน
    การจัดให้มีอาคารประหยัดพลังงาน โดยให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ดังต่อไปนี้
    1. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 1 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 5
    2. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 2 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 10
    3. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 3 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 15
    4. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 4 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 20
FAR Bonus ผังเมืองกรุงเทพ

FAR Bonus ตามร่างผังเมืองใหม่
ในร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม่ มีมาตรการส่งเสริมการพัฒนา (Incentive Measure) สำหรับ FAR Bonus เพิ่มเติมมาดังนี้

  1. พื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะริมน้ำ
    มาตรการนี้สนับสนุนให้เกิดพื้นที่สาธารณะริมน้ำ โดยพื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะริมแม่น้ำเจ้าพระยา ลำคลอง หรือแหล่งน้ำสาธารณะตามที่กำหนด ให้มีพื้นที่อาคารรวม เพิ่มขึ้น 8 เท่าของพื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะที่จัดให้มีขึ้น
  1. การจัดให้มีพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไปรอบสถานีรถไฟฟ้า
    มาตรการนี้จะสนับสนุนให้คนที่เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะสามารถเชื่อมต่อการเดินทางจากสถานีรถไฟฟ้าไปยังระบบอื่น ๆ เช่น รถเมล์ วินมอเตอร์ไซค์ และ อื่นๆ ได้อย่างสะดวก โดยโครงการที่จัดให้มีพื้นที่อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไปในบริเวณที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ภายในระยะ 200 เมตรจากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้น 5 เท่าของพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่การเดินทาง
  1. การจัดให้มีพื้นที่สำหรับใช้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานดูแลผู้สูงอายุ
    มาตราการนี้ส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สำหรับใช้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือ สถานดูแลผู้สูงอายุในอาคารอยู่อาศัยและสำนักงาน โดยโครงการที่จัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานดูแลผู้สูงอายุในเวลากลางวัน ในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัย หรือ อาคารสำนักงาน ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้น 8 เท่าของพื้นที่ที่จัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือ สถานดูแลผู้สูงอายุในเวลากลางวันFAR Bonus ผังเมืองกรุงเทพ      จะเห็นว่ามีเงื่อนไขการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เอื้อต่อการรับประโยชน์จากมาตรการส่งเสริมการพัฒนาด้วยการเพิ่ม FAR Bonus หลายเงื่อนไขเลยทีเดียว ช่วยให้นักพัฒนาอสังหาฯ ตัดสินใจพัฒนาโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมได้โดยไม่ต้องแบกรับต้นทุนและความเสี่ยงสูง ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาอาคารสีเขียว จากเดิมที่อาจมีน้อย ถึงแม้ผู้บริโภคจะสนใจอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อน แต่เพราะเป็นการเพิ่มต้นทุนค่าก่อสร้างทำให้นักพัฒนาอสังหาฯ หลายรายไม่มั่นใจในการพัฒนาโครงการ ตอนนี้อาจหันมาสนใจมากขึ้น เพราะได้รับประโยชน์จากการมีพื้นที่อาคารมากขึ้นตาม FAR Bonus ทำให้สามารถสร้างรายได้มากขึ้น เก็บค่าเช่าหรือตั้งราคาขายได้สูงขึ้นเพราะผู้บริโภคให้ความสำคัญ อีกทั้งยังสามารถพัฒนาเป็นอาคารประหยัดพลังงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายในระยะยาวได้อีกด้วยนอกจากมาตรการ FAR Bonus แล้วยังมีมาตรการใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อีกด้วย คือ มาตรการโอนสิทธิ์การพัฒนา (Transfer Development Right: TDR)เป็นการโอนสิทธิ์การพัฒนาจากที่ดินบริเวณหนึ่งไปยังที่ดินบริเวณอื่นได้ ตรวจสอบ FAR ตามข้อกำหนดสีผังเมืองปัจจุบัน และผังเมืองใหม่ได้ง่าย ๆ ด้วย Feasy โปรแกรมวิเคราะห์การลงทุนอสังหาฯสมัครใช้งานฟรี  

 #ความรู้อสังหาฯ
#กฎหมายอสังหาฯ
FAR Bonus
#FAR
#ผังเมือง
#นักพัฒนาอสังหาฯ

เว็บไซต์ อ้างอิง : https://www.feasyonline.com/content/detail/1194

วิธีตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ง่าย ๆ จะมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินก็เช็คได้

ราคาประเมินที่ดิน ใช้สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามทีี่กฎหมายกำหนด เป็นราคาที่ดินที่ได้รับการประเมินโดยกรมธนารักษ์ เราจะใช้ราคาประเมินที่ดินนี้เมื่อเราต้องการซื้อ-ขาย-โอนที่ดินก็จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอน หรือ เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามราคาประเมินนั่นเอง วิธีการตรวจสอบราคาประเมินง่าย ๆ ไม่ว่าคุณจะมีข้อมูลโฉนดอยู่ในมือ หรือ ไม่มีข้อมูลโฉนดเลยก็ตาม

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่ายๆ เพียงเตรียมโฉนดที่ดินให้พร้อมแล้วมาค้นหาราคาประเมินที่ดินกันใน 3 ขั้นตอน

  1. เข้าเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์
  2. ค้นหาราคาประเมิน โดยมีทางเลือกการค้นหา 2 แบบคือ
    1. ค้นจากเลขที่โฉนด เพียงกรอกเลขที่โฉนด หน้าสำรวจ และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
    2. ค้นหาจากเลขที่ดิน เพียงกรอกเลขที่ดิน ระวาง และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
  3. ดูราคาประเมินที่ดินได้ที่ด้านขวามือ
    ค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

นายหน้าอสังหา หรือเจ้าของที่ดินบางครั้งก็อยากจะตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แต่ไม่ได้พกโฉนดติดตัวไว้ หรือยังไม่มีข้อมูลโฉนดทำให้ค้นหาราคาประเมินที่ดินได้ลำบาก แต่ไม่ต้องห่วง เราจะแนะนำวิธีการตรวจสอบราคาประเมินที่ดินโดยที่ไม่ต้องใช้โฉนด เพียงรู้ตำแหน่งแปลงที่ดิน และมีมือถือพร้อมอินเตอร์เนทก็ตรวจสอบได้แล้ว เพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น

  1. เข้าเว็บไซต์ “ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน”ของกรมที่ดิน หรือ แอพลิเคชั่น Landmaps
  2. ค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณง่าย ๆ
    คุณสามารถซูมแผนที่เข้าไปค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณ หรือค้นหาจากจังหวัด เขต แขวง หรือแม้กระทั่งค้นหาสถานที่สำคัญ เหมือนการใช้ google maps จะช่วยให้คุณมองเห็นที่ตั้งที่ดินคุณได้ง่ายขึ้น เช่น ที่ดินของคุณตั้งอยู่ใกล้ ศูนย์ราชการนนทบุรี คุณก็ค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดนี้แล้วซูมไปบนแผนที่เพื่อหาที่ตั้งที่ดินของคุณค้นหาราคาประเมินที่ดิน
  3. Double-click คลิกบนที่ตั้งที่ดินของคุณ 2 ครั้ง ระบบจะแสดงขอบเขตที่ดินขึ้นมา ให้คุณคลิกบนกรอบขอบเขตที่ดินของคุณ และสามารถดูรายละเอียดข้อมูลโฉนด ขนาดที่ดิน รวมทั้งราคาประเมินได้ทันทีค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ถ้าหากแปลงที่ดินที่คุณสนใจไม่แสดงราคาประเมินที่ดินบนเว็บไซต์ทันที คุณก็สามารถนำข้อมูลโฉนดที่ดิน ได้แก่ หมายเลขระวาง เลขที่ดิน เลขที่โฉนดที่ดิน และหน้าสำรวจ ไปค้นหาราคาประเมินที่ในเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ตามขั้นตอนการค้นหาราคาประเมิน แบบมีโฉนดที่ดิน ด้านบนได้

     เพียงแค่นี้คุณก็สามารถตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ทั้งแบบมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินในมือ รวมทั้งช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน เช็คตำแหน่งที่ตั้งและรูปแปลงที่ดินให้ตรงกับข้อมูลของคุณได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หากคุณรู้ราคาประเมินที่ดินของคุณแล้ว สามารถคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างได้ง่าย ๆ ด้วยเครื่องมือคำนวณบนเว็บไซต์ Feasy เพียง “เพิ่มที่ดิน” แล้วอ่านรายงานศักยภาพที่ดิน ซึ่งประกอบไปด้วยเครื่องมือคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงราคาตลาดที่ดินในทำเลใกล้เคียง (ราคาที่สะท้อนถึงมูลค่าที่ดินในแต่ละพื้นที่) สีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้าง และเครื่องมือคำนวณค่าเช่าที่ดิน

สมัครสมาชิกฟรี! เช็คศักยภาพอสังหาฯ ของคุณได้ทันที
ราคาประเมินที่ดิน, โฉนด #ความรู้อสังหาฯ. #กฎหมายอสังหาฯ #อสังหา 101 #ที่ดิน #ราคาที่ดิน

เว็บอ้างอิง : https://www.feasyonline.com/content/detail/1187

FAR Bonus เงื่อนไข 8 ข้อ เพิ่มพื้นที่อาคาร ตามกฎหมายผังเมืองใหม่ by feasyonline.com

FAR Bonus คือ มาตรการส่งเสริมการพัฒนาด้วยการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) ทำให้นักพัฒนาอสังหาฯ สามารถสร้างอาคารให้มีพื้นที่มากขึ้น เพิ่มมูลค่าของโครงการได้นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพื่อสนับสนุนรูปแบบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เอื้อประโยชน์ต่อส่วนรวม ด้วยการสนับสนุนนักพัฒนาอสังหาฯ โดยมีเงื่อนไขต่าง ๆ เพราะหากนักพัฒนาอสังหาฯ ต้องลงทุนค่าก่อสร้างเพิ่มเพื่อพัฒนาพื้นที่รองรับน้ำ หรือ พื้นที่สีเขียวก็จะต้องแบกรับต้นทุนและความเสี่ยงในการลงทุนอยู่ฝ่ายเดียว มาตรการนี้จึงเอื้อให้เกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายนั่นเอง ทั้งนี้ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับปัจจุบัน และร่างผังเมืองใหม่ ได้มีการกำหนดเงื่อนไขการพัฒนาที่จะช่วยให้สามารถเพิ่ม FAR Bonus ได้ ดังนี้

FAR Bonus ตามผังเมืองปัจจุบัน

กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2556 มีเงื่อนไขสำหรับการเพิ่ม FAR Bonus ดังนี้

  1. พัฒนาที่อยู่อาศัยราคาต่ำกว่าท้องตลาด (Affordable Housing)
    การจัดให้มีหรือพัฒนาที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อยหรือผู้อยู่อาศัยเดิมภายในพื้นที่โครงการ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินสี่เท่าของพื้นที่ที่จัดให้เป็นที่อยู่อาศัยสําหรับผู้มีรายได้น้อย ที่อยู่อาศัยที่มีราคาต่ำกว่าท้องตลาด หรือที่อยู่อาศัยสําหรับผู้อยู่อาศัยเดิมภายในพื้นที่โครงการ
  1. พื้นที่เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ
    การจัดให้มีพื้นที่เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกินห้าเท่าของพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะที่จัดให้มีขึ้น
  1. ที่จอดรถยนต์สำหรับประชาชนทั่วไปรอบสถานีรถไฟฟ้า
    การจัดให้มีที่จอดรถยนต์สําหรับประชาชนทั่วไปในบริเวณพื้นที่ภายในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีอ่อนนุช สถานีลาดกระบัง สถานีหัวหมาก สถานีบางบําหรุ สถานีตลิ่งชัน สถานีอุดมสุข และสถานีแบริ่ง โดยพื้นที่อาคารรวมที่เพิ่มขึ้นต้องไม่เกิน 30 ตารางเมตรต?อที่จอดรถยนต?ที่เพิ่มขึ้น 1 คัน

    แต่ในร่างผังเมืองใหม่ มีมาตรการลดหย่อนจำนวนที่จอดรถยนต์ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคาร ทำให้สามารลดจำนวนที่จอดรถขั้นต่ำลงได้ 25% สำหรับอาคารที่ตั้งอยู่ในะยะ 500 เมตร โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือ 800 เมตรโดยรอบสถานีร่วมตามที่กำหนด

    สถานีร่วม* คือ สถานีเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง (Interchange station) ได้แก่ สถานีสยาม หรือ อโศก ที่เชื่อมการเดินทางระหว่าง 2 เส้นรถไฟฟ้าก็จะได้รับการลดหย่อนมากกว่านั่นเอง ดังภาพ
  1. พื้นที่รับน้ำหรือที่กักเก็บน้ำ
    การจัดให้มีพื้นที่รับน้ำในแปลงที่ดินในสัดส่วนไม่น้อยกว่า 1 ลูกบาศก์เมตร ต่อพื้นที่ดิน 50 ตารางเมตร ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินได้ไม่เกินร้อยละห้า ถ้าสามารถกักเก็บน้ําได้มากกว่า 1 ลูกบาศก์เมตร ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ตามสัดส่วน แต่ต้องไม่เกินร้อยละยี่สิบ
  1. อาคารประหยัดพลังงาน
    การจัดให้มีอาคารประหยัดพลังงาน โดยให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ดังต่อไปนี้
    1. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 1 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 5
    2. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 2 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 10
    3. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 3 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 15
    4. อาคารที่ได้รับการรับรองระดับที่ 4 ให้มีอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 20
FAR Bonus ผังเมืองกรุงเทพ

FAR Bonus ตามร่างผังเมืองใหม่
ในร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม่ มีมาตรการส่งเสริมการพัฒนา (Incentive Measure) สำหรับ FAR Bonus เพิ่มเติมมาดังนี้

  1. พื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะริมน้ำ
    มาตรการนี้สนับสนุนให้เกิดพื้นที่สาธารณะริมน้ำ โดยพื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะริมแม่น้ำเจ้าพระยา ลำคลอง หรือแหล่งน้ำสาธารณะตามที่กำหนด ให้มีพื้นที่อาคารรวม เพิ่มขึ้น 8 เท่าของพื้นที่ว่างเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือ สวนสาธารณะที่จัดให้มีขึ้น
  1. การจัดให้มีพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไปรอบสถานีรถไฟฟ้า
    มาตรการนี้จะสนับสนุนให้คนที่เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะสามารถเชื่อมต่อการเดินทางจากสถานีรถไฟฟ้าไปยังระบบอื่น ๆ เช่น รถเมล์ วินมอเตอร์ไซค์ และ อื่นๆ ได้อย่างสะดวก โดยโครงการที่จัดให้มีพื้นที่อำนวยความสะดวกแก่ประชาชนทั่วไปในบริเวณที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจรของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ภายในระยะ 200 เมตรจากบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้น 5 เท่าของพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่การเดินทาง
  1. การจัดให้มีพื้นที่สำหรับใช้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานดูแลผู้สูงอายุ
    มาตราการนี้ส่งเสริมให้เกิดพื้นที่สำหรับใช้เป็นสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือ สถานดูแลผู้สูงอายุในอาคารอยู่อาศัยและสำนักงาน โดยโครงการที่จัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานดูแลผู้สูงอายุในเวลากลางวัน ในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทอาคารอยู่อาศัย หรือ อาคารสำนักงาน ให้มีพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้น 8 เท่าของพื้นที่ที่จัดให้มีสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือ สถานดูแลผู้สูงอายุในเวลากลางวันFAR Bonus ผังเมืองกรุงเทพ      จะเห็นว่ามีเงื่อนไขการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่เอื้อต่อการรับประโยชน์จากมาตรการส่งเสริมการพัฒนาด้วยการเพิ่ม FAR Bonus หลายเงื่อนไขเลยทีเดียว ช่วยให้นักพัฒนาอสังหาฯ ตัดสินใจพัฒนาโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมได้โดยไม่ต้องแบกรับต้นทุนและความเสี่ยงสูง ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาอาคารสีเขียว จากเดิมที่อาจมีน้อย ถึงแม้ผู้บริโภคจะสนใจอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อน แต่เพราะเป็นการเพิ่มต้นทุนค่าก่อสร้างทำให้นักพัฒนาอสังหาฯ หลายรายไม่มั่นใจในการพัฒนาโครงการ ตอนนี้อาจหันมาสนใจมากขึ้น เพราะได้รับประโยชน์จากการมีพื้นที่อาคารมากขึ้นตาม FAR Bonus ทำให้สามารถสร้างรายได้มากขึ้น เก็บค่าเช่าหรือตั้งราคาขายได้สูงขึ้นเพราะผู้บริโภคให้ความสำคัญ อีกทั้งยังสามารถพัฒนาเป็นอาคารประหยัดพลังงานเพื่อลดค่าใช้จ่ายในระยะยาวได้อีกด้วยนอกจากมาตรการ FAR Bonus แล้วยังมีมาตรการใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อีกด้วย คือ มาตรการโอนสิทธิ์การพัฒนา (Transfer Development Right: TDR)เป็นการโอนสิทธิ์การพัฒนาจากที่ดินบริเวณหนึ่งไปยังที่ดินบริเวณอื่นได้ ตรวจสอบ FAR ตามข้อกำหนดสีผังเมืองปัจจุบัน และผังเมืองใหม่ได้ง่าย ๆ ด้วย Feasy โปรแกรมวิเคราะห์การลงทุนอสังหาฯสมัครใช้งานฟรี

#FAR #ผังเมือง #นักพัฒนาอสังหาฯ #ความรู้อสังหาฯ #กฎหมายอสังหาฯ 

เว็บไซต์อ้างอิง : http://feasyonline.com/content/detail/1194

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่าย ๆ จะมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินก็เช็คได้ by feasyonline

ราคาประเมินที่ดิน ใช้สำหรับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามทีี่กฎหมายกำหนด เป็นราคาที่ดินที่ได้รับการประเมินโดยกรมธนารักษ์ เราจะใช้ราคาประเมินที่ดินนี้เมื่อเราต้องการซื้อ-ขาย-โอนที่ดินก็จะต้องเสียค่าธรรมเนียมการโอน หรือ เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามราคาประเมินนั่นเอง วิธีการตรวจสอบราคาประเมินง่าย ๆ ไม่ว่าคุณจะมีข้อมูลโฉนดอยู่ในมือ หรือ ไม่มีข้อมูลโฉนดเลยก็ตาม

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แบบมีโฉนด

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดินง่ายๆ เพียงเตรียมโฉนดที่ดินให้พร้อมแล้วมาค้นหาราคาประเมินที่ดินกันใน 3 ขั้นตอน

  1. เข้าเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์
  2. ค้นหาราคาประเมิน โดยมีทางเลือกการค้นหา 2 แบบคือ
    1. ค้นจากเลขที่โฉนด เพียงกรอกเลขที่โฉนด หน้าสำรวจ และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
    2. ค้นหาจากเลขที่ดิน เพียงกรอกเลขที่ดิน ระวาง และจังหวัดที่ตั้งแปลงที่ดินของคุณ
  3. ดูราคาประเมินที่ดินได้ที่ด้านขวามือ
    ค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แม้ไม่มีโฉนด

นายหน้าอสังหา หรือเจ้าของที่ดินบางครั้งก็อยากจะตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน แต่ไม่ได้พกโฉนดติดตัวไว้ หรือยังไม่มีข้อมูลโฉนดทำให้ค้นหาราคาประเมินที่ดินได้ลำบาก แต่ไม่ต้องห่วง เราจะแนะนำวิธีการตรวจสอบราคาประเมินที่ดินโดยที่ไม่ต้องใช้โฉนด เพียงรู้ตำแหน่งแปลงที่ดิน และมีมือถือพร้อมอินเตอร์เนทก็ตรวจสอบได้แล้ว เพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น

  1. เข้าเว็บไซต์ “ระบบค้นหารูปแปลงที่ดิน”ของกรมที่ดิน หรือ แอพลิเคชั่น Landmaps
  2. ค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณง่าย ๆ
    คุณสามารถซูมแผนที่เข้าไปค้นหาที่ตั้งที่ดินของคุณ หรือค้นหาจากจังหวัด เขต แขวง หรือแม้กระทั่งค้นหาสถานที่สำคัญ เหมือนการใช้ google maps จะช่วยให้คุณมองเห็นที่ตั้งที่ดินคุณได้ง่ายขึ้น เช่น ที่ดินของคุณตั้งอยู่ใกล้ ศูนย์ราชการนนทบุรี คุณก็ค้นหาด้วยคีย์เวิร์ดนี้แล้วซูมไปบนแผนที่เพื่อหาที่ตั้งที่ดินของคุณค้นหาราคาประเมินที่ดิน
  3. Double-click คลิกบนที่ตั้งที่ดินของคุณ 2 ครั้ง ระบบจะแสดงขอบเขตที่ดินขึ้นมา ให้คุณคลิกบนกรอบขอบเขตที่ดินของคุณ และสามารถดูรายละเอียดข้อมูลโฉนด ขนาดที่ดิน รวมทั้งราคาประเมินได้ทันทีค้นหาราคาประเมินที่ดิน

ถ้าหากแปลงที่ดินที่คุณสนใจไม่แสดงราคาประเมินที่ดินบนเว็บไซต์ทันที คุณก็สามารถนำข้อมูลโฉนดที่ดิน ได้แก่ หมายเลขระวาง เลขที่ดิน เลขที่โฉนดที่ดิน และหน้าสำรวจ ไปค้นหาราคาประเมินที่ในเว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ตามขั้นตอนการค้นหาราคาประเมิน แบบมีโฉนดที่ดิน ด้านบนได้

     เพียงแค่นี้คุณก็สามารถตรวจสอบราคาประเมินที่ดิน ทั้งแบบมีโฉนด หรือ ไม่มีโฉนดที่ดินในมือ รวมทั้งช่วยให้คุณค้นหาข้อมูลแปลงที่ดิน เช็คตำแหน่งที่ตั้งและรูปแปลงที่ดินให้ตรงกับข้อมูลของคุณได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หากคุณรู้ราคาประเมินที่ดินของคุณแล้ว สามารถคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างได้ง่าย ๆ ด้วยเครื่องมือคำนวณบนเว็บไซต์ Feasy เพียง “เพิ่มที่ดิน” แล้วอ่านรายงานศักยภาพที่ดิน ซึ่งประกอบไปด้วยเครื่องมือคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงราคาตลาดที่ดินในทำเลใกล้เคียง (ราคาที่สะท้อนถึงมูลค่าที่ดินในแต่ละพื้นที่) สีผังเมือง แนวเวนคืน พื้นที่ห้ามก่อสร้าง และเครื่องมือคำนวณค่าเช่าที่ดิน

สมัครสมาชิกฟรี! เช็คศักยภาพอสังหาฯ ของคุณได้ทันที



ข่าวสำคัญ แค่กดเป็นเพื่อน กับ LINE @FEASY 
#ความรู้อสังหาฯ.#กฎหมายอสังหาฯ#อสังหา 101#ที่ดิน#ราคาที่ดิน

ราคาประเมินที่ดิน, โฉนด #ความรู้อสังหาฯ #กฎหมายอสังหาฯ#อสังหา 101#ที่ดิน#ราคาที่ดิน

เว็บไซต์อ้างอิง : http://feasyonline.com/content/detail/1187

การรอนสิทธิ รู้ไว้ก่อนเสียสิทธิในที่ดิน by feasyonline.com

หากคุณจะเช่า หรือ ซื้อที่ดินจะต้องตรวจสอบก่อนว่าที่ดินนั้นถูกการรอนสิทธิหรือไม่ เพราะจะส่งผลให้คุณไม่สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้เต็มศักยภาพ หรือ ไม่สามารถใช้ที่ดินนั้นได้เลย ส่งผลให้ราคาค่าเช่าที่ดิน หรือ ราคาขายที่ดินควรจะต้องลดลงด้วย โดยอาจเกิดจากการพัฒนาของภาครัฐเข้ามาในพื้นที่ดังกล่าว เช่น การตั้งแนวเสาไฟฟ้าแรงสูง หรือ อาจเกิดจากการที่เจ้าของที่ดินทำนิติกรรมบางอย่างที่การรอนสิทธิในที่ดินของตนเอง เช่น การให้ใช้ที่ดินบางส่วนเป็นทางภาระจำยอม เป็นต้น จึงควรตรวจสอบทุกครั้งก่อนทำสัญญาด้วยการคัดโฉนดที่กรมที่ดิน โดยลักษณะการรอนสิทธิมี 8 รูปแบบด้วยกัน ดังนี้

การรอนสิทธิ

  1. ที่ดินใต้แนวเสาไฟฟ้าแรงสูง
    หากที่ดินตั้งอยู่ใต้แนวเสาไฟฟ้าแรงสูง จะถูกรอนสิทธิโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คือ เจ้าของยังมีกรรมสิทธิ์ที่ดินเหมือนเดิม แต่ลดสิทธิการใช้ประโยชน์ลงแลกกับค่าการรอนสิทธิที่เป็นธรรม โดยพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ.2511 ได้กำหนดไว้ดังนี้
    1. ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอันตรายแก่ระบบไฟฟ้า เช่น ห้ามนำวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรกล เช่น รถเครน รถยก รถตัก รถขุด เข้าใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงน้อยกว่า 4.00 เมตร หรือ ห้ามเผ่าไร้อ้อย นาข้าว ป่าพง หรือวัสดุอื่นใดในเขตแนวสายไฟฟ้า
    2. ห้ามปลูกสร้างอาคาร บ้านเรือน หรือ สิ่งปลูกสร้างอื่น ทุกชนิด ในเขตเดินสายไฟฟ้า
    3. ห้ามปลูกต้นไม้ หรือพืชผล ในเขตเดินสายไฟฟ้า ดังนี้
  • บริเวณพื้นที่ที่ตั้งเสา และพื้นที่โดยรอบโคนเสา ภายในระยะห่างจากแนวขาเสา 4 เมตร ห้ามปลูกต้นไม้ หรือพืชผล ทุกชนิด
  • บริเวณพื้นที่ในเขตเดินสายไฟฟ้านอกจากข้อ 3.1 ห้ามปลูกต้นไม้หรือพืชผล ซึ่งเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วมีความสูงเกินกว่า 3 เมตร
  • บริเวณพื้นที่ในเขตเดินสายไฟฟ้า ของสายส่งไฟฟ้า ระดับแรงดัน 500,000 โวลต์ ห้ามปลูกอ้อย
  1. กระทำการใดๆ เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นดิน บริเวณพื้นที่ในเขตเดินสายไฟฟ้า เช่น การปรับสภาพพื้นดินให้สูงขึ้น การขุดดิน การขุดบ่อ การก่อสร้างถนน จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรการ กฟผ.ก่อน

    โรงเรือนหรือสิ่งอื่นที่สร้างขึ้น หรือทำขึ้น ต้นไม้หรือพืชผล ที่ปลูกขึ้น โดยไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือไม่ได้รับอนุญาต ให้ กฟผ.มีอำนาจรื้อถอน ทำลาย หรือตัดฟันตามสมควรแก่กรณีโดยไม่ต้องจ่ายค่าทดแทน โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ได้กำหนดเขต การรอนสิทธิเป็นความกว้างของเขตสายไฟฟ้า ตามขนาดของสายส่งไฟฟ้า ไว้ดังนี้
  1. ข้อกำหนดห้ามโอน
          อาจเกิดจากการออก น.ส.3 โดยที่ยังไม่ได้ทำประโยชน์ หรือมี ส.ค.1 อยู่ก่อน ทางการอาจกำหนดห้ามโอน 10 ปี หรือที่เรียกว่า “โฉนดหลังเเดง” ในกรณีนี้หากระยะเวลาที่ห้ามเหลืออีกนาน เช่น เหลืออีก 8 ปี ก็จะเกิดปัญหาว่าไม่สามารถขายต่อได้จนกว่าจะครบกำหนด
  1. สัญญาเช่า
          กฎหมายในบ้านเรากำหนดให้สัญญาเช่ามีระยะเวลาเกินกว่า 3 ปีขึ้นไปจะต้องจดทะเบียนที่ที่ดินด้วย จึงต้องตรวจสอบดูว่าสัญญาเช่ายังเหลืออีกกี่ปี และอัตราค่าเช่าเป็นอย่างไร สัญญาเช่านี้จะเช็คไม่ได้ก็เฉพาะกรณีที่ให้เช่าต่ำกว่า 3 ปีที่ทำสัญญาเช่ากันเอง หรือกรณีเช่าเฉพาะสิ่งปลูกสร้างซึ่งจะจดทะเบียนที่อำเภอ เพราะการเช่าในสองลักษณะนี้จะไปปรากฏธุรกรรมในหน้าสารบัญโฉนด เเต่อย่างใดต้องลงพื้นที่สำรวจด้วยตัวเองแทน
  1. สิทธิเก็บกิน
          สิทธิซึ่งผู้ทรงสิทธิมีสิทธิครอบครองใช้ หรือถือเอาซึ่งประโยชน์เเห่งทรัพย์สินนั้นภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายไว้ไม่เกิน 30 ปี หรือตลอดชีวิตผู้ทรงสิทธิก็ได้ ทั้งนี้เมื่อจดทะเบียนมอบสิทธิแบบนี้ให้กับใครแล้ว เวลาทำสัญญาเช่าผู้เช่าต้องทำกับผู้ทรงสิทธิเก็บกิน เเทนที่จะทำกับเจ้าของซึ่งเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์
  1. สิทธิอาศัย
          เป็นสิทธิที่ผู้อาศัยมีสิทธิอยู่ในโรงเรือนนั้นโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า ซึ่งอาจมีระยะเวลาไม่เกินกว่า 30 ปี หรือตลอดชีวิตของผู้ทรงสิทธิ
  1. สิทธิเหนือพื้นดิน
          หมายถึงสิทธิเป็นเจ้าของโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง หรือสิ่งเพาะปลูกบนดินหรือใต้ดินนั้น เเละอาจมีกำหนดเวลาไม่เกิน 30 ปี หรือตลอดชีวิตของเจ้าของที่ดิน หรือตลอดชีวิตของผู้ทรงสิทธิก็ได้ และเมื่อครบกำหนดผู้ทรงสิทธิมีสิทธิรืื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปด้วย
  1. ภาระติดพัน
          คนที่มีชื่อเป็นผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับชำระหนี้เป็นคราวๆ จากทรัพย์สินนั้น หรือได้ใช้ หรือถือเอาประโยชน์เเห่งทรัพย์สินตามระบุไว้ ถ้าไม่ระบุระยะเวลาไว้สันนิษฐานไว้ว่ามีอยู่ตลอดชีวิตของผู้ได้รับประโยชน์ หรือถ้ากำหนดเวลาไม่เกิน 30 ปี
  1. ภาระจำยอม
          ที่ดินอาจตกอยู่ในภาระจำยอมอันเป็นเหตุให้เจ้าของต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น ภาระจำยอมที่พบบ่อยคือภาระจำยอมเรื่องให้ผ่านทาง โดยยอมให้โฉนดแปลงอื่นใช้ประโยชน์เป็นทางผ่านได้

     การรอนสิทธิทำให้เจ้าของที่ดินเสียสิทธิไปมาก เพราะฉะนั้นต้องตรวจสอบให้ดีก่อนทำนิติกรรมใด ๆ เพราะการรอนสิทธิบางประเภทไม่ได้ระบุระยะเวลาไว้ เช่น การรอนสิทธิของที่ดินใต้แนวเสาไฟฟ้าแรงสูงจะมีผลต่อที่ดินนั้นตลอดไป เจ้าของที่ดินจึงต้องต่อรองราคาให้เป็นธรรมจึงจะคุ้มกับสิทธิที่หายไป สำหรับผู้ที่จะซื้อ หรือจะเช่าที่ดินจะต้องตรวจสอบกับกรมที่ดินให้แน่ใจว่าที่ดินที่สนใจนั้นไม่ถูกรอนสิทธิ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้คุ้มค่า คุ้มราคาที่ดินนั่นเอง


ความรู้อสังหาฯ การรอนสิทธิ ที่ดิน ความรู้อสังหาฯ กฎหมายอสังหาฯ #อสังหา 101#ที่ดิน

บทความต้นฉบับ : http://feasyonline.com/content/detail/1188